ต้องการเทียบเคียงกับ..

พระไตรปิฎก ไทย ฉบับหลวง พระไตรปิฎก บาลี ฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหามกุฏฯ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหาจุฬาฯ
E-Tipitaka
  • บาลี (สยามรัฐ)
  • ไทย (มหามกุฏฯ)
  • ไทย (มหาจุฬาฯ)
  • เลือกเล่ม
    • ๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
    • ๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
    • ๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
    • ๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
    • ๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
    • ๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
    • ๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
    • ๘. วินัยปิฎก ปริวาร
    • ๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    • ๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
    • ๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
    • ๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    • ๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
    • ๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    • ๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
    • ๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    • ๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    • ๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    • ๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    • ๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
    • ๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
    • ๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
    • ๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
    • ๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    • ๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
    • ๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
    • ๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
    • ๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
    • ๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
    • ๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
    • ๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    • ๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
    • ๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
    • ๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
    • ๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
    • ๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
    • ๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
    • ๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
    • ๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
    • ๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
    • ๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
    • ๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
    • ๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
๘. วินัยปิฎก ปริวาร
๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๒
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
หน้าที่ ๑๙๔ ข้อที่ ๒๘๗
หน้าที่ 194

ลิงก์สำหรับจดจำหรือแบ่งปันหน้านี้

เป็นผู้ให้สัตว์พินาศ ย่อมบัญญัติความขาดสูญ ความพินาศ ความเลิกเกิดแห่งสัตว์ผู้มีอยู่. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติทุกข์ และความดับทุกข์ ทั้งในกาลก่อนและในกาลบัดนี้. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าบุคคลเหล่าอื่นย่อมด่า ย่อมบริภาษ ย่อมโกรธ ย่อมเบียดเบียน ย่อมกระทบกระเทียบตถาคต ในการประกาศสัจจะ ๔ ประการนั้น ตถาคตก็ไม่มีความอาฆาต ไม่มี ความโทมนัส ไม่มีจิตยินร้าย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าชนเหล่าอื่น ย่อมสักการะ ย่อมเคารพ ย่อมนับถือ ย่อมบูชาตถาคต ในการประกาศสัจจะ ๔ ประการนั้น ตถาคตก็ไม่มีความยินดี ไม่มีความโสมนัส ไม่มีใจเย่อหยิ่งในปัจจัยทั้งหลาย มีสักการะเป็นต้นนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าชนเหล่าอื่น ย่อมสักการะ ย่อมเคารพ ย่อมนับถือ ย่อมบูชาตถาคต ในการประกาศ สัจจะ ๔ ประการนั้น ตถาคตมีความดำริอย่างนี้ ในปัจจัยทั้งหลายมีสักการะเป็นต้นนั้นว่า สักการะเห็นปานนี้ บุคคลกระทำแก่เราในขันธปัญจกที่เรากำหนดรู้แล้วในกาลก่อน. [๒๘๗] เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้ว่า ชนเหล่าอื่นพึงด่า พึงบริภาษ พึงโกรธ พึงเบียดเบียน พึงกระทบกระเทียบท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายไม่พึงกระทำความอาฆาต ไม่พึงกระทำความโทมนัส ไม่พึงกระทำความไม่ชอบใจ ในชนเหล่าอื่นนั้น. เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย แม้ถ้าว่า ชนเหล่าอื่นพึงสักการะ พึงเคารพ พึงนับถือ พึงบูชาท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลาย ไม่พึงกระทำความยินดี ความโสมนัส ไม่พึงกระทำความเย่อหยิ่งแห่งใจในปัจจัย ทั้งหลายมีสักการะเป็นต้นนั้น. เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย แม้ถ้าว่า ชนเหล่าอื่น พึงสักการะ พึงเคารพ พึงนับถือ พึงบูชาท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลาย พึงดำริอย่างนี้ ในปัจจัย ทั้งหลายมีสักการะเป็นต้นนั้นว่า สักการะเห็นปานนี้ บุคคลกระทำแก่เราทั้งหลาย ในขันธปัญจก ที่เราทั้งหลายกำหนดรู้แล้วในกาลก่อนๆ เพราะเหตุนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดไม่ใช่ของท่าน ทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงละสิ่งนั้นเสีย สิ่งนั้นท่านทั้งหลายละได้แล้ว จักมีเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งอะไรเล่า ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย รูป ไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงละรูปนั้นเสีย รูปนั้นท่านทั้งหลายละได้แล้ว จักมีเพื่อ ประโยชน์ เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เวทนาไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงละเวทนานั้นเสีย เวทนานั้นท่านทั้งหลายละได้แล้ว จักมีเพื่อประโยชน์ เพื่อ ความสุข สิ้นกาลนาน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงละ สัญญานั้นเสีย สัญญานั้นท่านทั้งหลายละได้แล้ว จักมีเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลายไม่ใช่ของท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงละสังขารเหล่านั้นเสีย