ต้องการเทียบเคียงกับ..

พระไตรปิฎก ไทย ฉบับหลวง พระไตรปิฎก บาลี ฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหามกุฏฯ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหาจุฬาฯ
E-Tipitaka
  • บาลี (สยามรัฐ)
  • ไทย (มหามกุฏฯ)
  • ไทย (มหาจุฬาฯ)
  • เลือกเล่ม
    • ๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
    • ๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
    • ๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
    • ๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
    • ๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
    • ๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
    • ๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
    • ๘. วินัยปิฎก ปริวาร
    • ๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    • ๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
    • ๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
    • ๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    • ๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
    • ๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    • ๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
    • ๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    • ๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    • ๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    • ๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    • ๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
    • ๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
    • ๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
    • ๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
    • ๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    • ๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
    • ๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
    • ๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
    • ๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
    • ๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
    • ๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
    • ๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    • ๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
    • ๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
    • ๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
    • ๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
    • ๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
    • ๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
    • ๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
    • ๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
    • ๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
    • ๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
    • ๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
    • ๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
๘. วินัยปิฎก ปริวาร
๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๗
สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
หน้าที่ ๑๙๐ ข้อที่ ๓๖๖
หน้าที่ 190

ลิงก์สำหรับจดจำหรือแบ่งปันหน้านี้

๒. ราธสังยุต ปฐมวรรคที่ ๑ ๑. มารสูตร ว่าด้วยขันธมาร [๓๖๖] พระนครสาวัตถี. ครั้งนั้นแล ท่านพระราธะ ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ได้ทูลถาม พระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ที่เรียกว่า มาร มาร ดังนี้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอ แล จึงเรียกว่า มาร? พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรราธะ เมื่อรูปมีอยู่ มาร (ความตาย) จึงมี ผู้ทำให้ตายจึงมี ผู้ตายจึงมี เพราะฉะนั้นแหละ ราธะ เธอจงพิจารณาเห็นรูปว่า เป็นมาร เป็นผู้ทำให้ตาย เป็นผู้ตาย เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความทุกข์ เป็นตัวทุกข์ บุคคลเหล่าใดพิจารณาเห็นรูปนั้นอย่างนี้ บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่า ย่อมเห็นชอบ. เมื่อเวทนามีอยู่ ฯลฯ เมื่อสัญญามีอยู่ ฯลฯ เมื่อสังขารมีอยู่ ฯลฯ เมื่อวิญญาณมีอยู่ มารจึงมี ผู้ทำให้ตายจึงมี ผู้ตายจึงมี เพราะฉะนั้นแหละ ราธะ เธอจงพิจารณาเห็นวิญญาณว่า เป็นมาร เป็นผู้ทำให้ตาย เป็นผู้ตาย เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความทุกข์ เป็นตัวทุกข์ บุคคลเหล่าใดพิจารณา เห็นวิญญาณนั้นอย่างนี้ บุคคลเหล่านั้น ชื่อว่า ย่อมเห็นชอบ. รา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ความเห็นชอบมีประโยชน์อย่างไร พระเจ้าข้า? พ. ดูกรราธะ ความเห็นชอบมีประโยชน์ให้เบื่อหน่าย. รา. ความเบื่อหน่ายมีประโยชน์อย่างไร พระเจ้าข้า? พ. ดูกรราธะ ความเบื่อหน่ายมีประโยชน์ให้คลายกำหนัด. รา. ก็ความคลายกำหนัดเล่ามีประโยชน์อย่างไร พระเจ้าข้า? พ. ดูกรราธะ ความคลายกำหนัดมีประโยชน์ให้หลุดพ้น. รา. ความหลุดพ้นเล่า มีประโยชน์อย่างไร พระเจ้าข้า? พ. ดูกรราธะ ความหลุดพ้นมีประโยชน์เพื่อนิพพาน. รา. นิพพานเล่ามีประโยชน์อย่างไร พระเจ้าข้า?