ต้องการเทียบเคียงกับ..

พระไตรปิฎก ไทย ฉบับหลวง พระไตรปิฎก บาลี ฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหามกุฏฯ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหาจุฬาฯ
E-Tipitaka
  • บาลี (สยามรัฐ)
  • ไทย (มหามกุฏฯ)
  • ไทย (มหาจุฬาฯ)
  • เลือกเล่ม
    • ๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
    • ๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
    • ๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
    • ๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
    • ๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
    • ๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
    • ๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
    • ๘. วินัยปิฎก ปริวาร
    • ๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    • ๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
    • ๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
    • ๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    • ๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
    • ๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    • ๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
    • ๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    • ๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    • ๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    • ๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    • ๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
    • ๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
    • ๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
    • ๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
    • ๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    • ๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
    • ๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
    • ๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
    • ๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
    • ๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
    • ๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
    • ๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    • ๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
    • ๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
    • ๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
    • ๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
    • ๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
    • ๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
    • ๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
    • ๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
    • ๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
    • ๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
    • ๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
    • ๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
๘. วินัยปิฎก ปริวาร
๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๙
สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
หน้าที่ ๗๐ ข้อที่ ๑๒๗ - ๑๒๘
หน้าที่ 70

ลิงก์สำหรับจดจำหรือแบ่งปันหน้านี้

บรรลุถึงหมู่บ้านอันเกษม ปลอดภัยโดยสวัสดีแล้ว ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความ โสมนัส มีภูมิสถานอันเกษมนั้นเป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร ภิกษุพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการเหล่านี้ที่ยังละไม่ได้ในตนเหมือนหนี้ เหมือนโรค เหมือนเรือนจำ เหมือนความเป็นทาส เหมือนทางไกลกันดาร และเธอพิจารณา เห็นนิวรณ์ ๕ ประการที่ละได้แล้วในตน เหมือนความไม่มีหนี้ เหมือนความไม่มีโรค เหมือน การพ้นจากเรือนจำ เหมือนความเป็นไทยแก่ตน เหมือนภูมิสถานอันเกษม ฉันนั้นแล. รูปฌาน ๔ [๑๒๗] เมื่อเธอพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ เหล่านี้ ที่ละได้แล้วในตน ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีปีติในใจ กายย่อมสงบ เธอมีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. เธอสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอทำกายนี้แหละให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้วยปีติและสุขเกิดแต่ วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนพนักงานสรงสนาน หรือลูกมือพนักงานสรงสนานผู้ฉลาด จะพึงใส่จุรณ์สีตัวลงในภาชนะสำริด แล้วพรมด้วยน้ำ หมักไว้ ตกเวลาเย็นก้อนจุรณ์สีตัวซึ่งยาง ซึมไปจับติดกันทั่วทั้งหมด ย่อมไม่กระจายออก ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นแล ทำกายนี้แหละให้ ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้วยปีติและสุขเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดียิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ. [๑๒๘] ดูกรมหาบพิตร อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสแห่งจิต ในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตก วิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่สมาธิอยู่ เธอทำกายนี้แหละ ให้ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่าน ด้วยปีติและสุขเกิดแต่สมาธิ ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง. ดูกร มหาบพิตร เปรียบเหมือนห้วงน้ำลึกมีน้ำปั่นป่วน ไม่มีทางที่น้ำจะไหลมาได้ ทั้งในด้านตะวันออก ด้านใต้ ด้านตะวันตก ด้านเหนือ ทั้งฝนก็ไม่ตกเพิ่มตามฤดูกาล แต่สายน้ำเย็นพุขึ้นจากห้วง