อนิจฺจา วิปริณามิโน อญฺญถาภาวิโน รสา อนิจฺจา วิปริณามิโน
อญฺญถาภาวิโน โผฏฺฐพฺพา อนิจฺจา วิปริณามิโน อญฺญถาภาวิโน
ธมฺมา อนิจฺจา วิปริณามิโน อญฺญถาภาวิโน ฯ โย ภิกฺขเว อิเม
ธมฺเม เอวํ สทฺทหติ อธิมุจฺจติ ฯ อยํ วุจฺจติ สทฺธานุสารี โอกฺกนฺโต
สมฺมตฺตนิยามํ สปฺปุริสภูมึ โอกฺกนฺโต วีติวตฺโต ปุถุชฺชนภูมึ อภพฺโพ
ตํ กมฺมํ กาตุํ ยํ กมฺมํ กตฺวา นิรยํ วา ติรจฺฉานโยนึ วา ปิตฺติวิสยํ
วา อุปปชฺเชยฺย อภพฺโพว ตาว กาลํ กาตุํ ยาว น โสตาปตฺติผลํ
สจฺฉิกโรติ ฯ ยสฺส โข ภิกฺขเว อิเม ธมฺมา เอวํ ปญฺญาย มตฺตโส
นิชฺฌานํ ขมนฺติ ฯ อยํ วุจฺจติ ธมฺมานุสารี โอกฺกนฺโต สมฺมตฺตนิยามํ
สปฺปุริสภูมึ โอกฺกนฺโต วีติวตฺโต ปุถุชฺชนภูมึ อภพฺโพ ตํ กมฺมํ
กาตุํ ยํ กมฺมํ กตฺวา นิรยํ วา ติรจฺฉานโยนึ วา ปิตฺติวิสยํ วา
อุปปชฺเชยฺย อภพฺโพว ตาว กาลํ กาตุํ ยาว น โสตาปตฺติผลํ
สจฺฉิกโรติ ฯ โย ภิกฺขเว อิเม ธมฺเม เอวํ ชานาติ ๑ เอวํ ปสฺสติ ฯ
อยํ วุจฺจติ โสตาปนฺโน อวินิปาตธมฺโม นิยโต สมฺโพธิปรายโนติ ฯ
[๔๗๑] สาวตฺถี ฯ จกฺขุวิญฺญาณํ ภิกฺขเว อนิจฺจํ วิปริณามิ
อญฺญถาภาวิ โสตวิญฺญาณํ ฯเปฯ ฆานวิญฺญาณํ ฯ ชิวฺหาวิญฺญาณํ ฯ
กายวิญฺญาณํ ฯ มโนวิญฺญาณํ อนิจฺจํ วิปริณามิ
อญฺญถาภาวิ ฯ โย ภิกฺขเว ฯเปฯ สจฺฉิกโรติ ฯ ยสฺส โข ภิกฺขเว
ฯเปฯ สจฺฉิกโรติ ฯ โย ภิกฺขเว ฯเปฯ สมฺโพธิปรายโนติ ฯ
[๔๗๒] สาวตฺถี ฯ จกฺขุสมฺผสฺโส ภิกฺขเว อนิจฺโจ วิปริณามี
#๑ ม. ปชานาติ ฯ
๓. วิญญาณสูตร
ว่าด้วยวิญญาณ
{๔๗๑}[๓๐๔] เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย จักขุวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางตา)
ไม่เที่ยง มีความแปรผัน มีภาวะโดยอาการอื่น
โสตวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางหู) ฯลฯ
ฆานวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางจมูก) ...
ชิวหาวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางลิ้น) ...
กายวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางกาย) ...
มโนวิญญาณ (ความรู้อารมณ์ทางใจ) ไม่เที่ยง มีความแปรผัน มีภาวะ
โดยอาการอื่น
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ใด ฯลฯ ตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล
ภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ของผู้ใด ฯลฯ ตราบเท่าที่ยังไม่ทำให้แจ้ง
โสดาปัตติผล
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ใด ฯลฯ จะสำเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า”
วิญญาณสูตรที่ ๓ จบ
๔. สัมผัสสสูตร
ว่าด้วยสัมผัส
{๔๗๒}[๓๐๕] เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย จักขุสัมผัส (ความกระทบทางตา)
ไม่เที่ยง มีความแปรผัน มีภาวะโดยอาการอื่น
โสตสัมผัส (ความกระทบทางหู) ฯลฯ
ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมูก) ...