นนฺทิกฺขยวคฺโค ปฐโม
[๒๔๕] อนิจฺจํเยว ภิกฺขเว ภิกฺขุ จกฺขุํ อนิจฺจนฺติ ปสฺสติ
สาสฺส ๑ โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ นนฺทิกฺขยา
ราคกฺขโย ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ
วุจฺจติ ฯเปฯ อนิจฺจํเยว ภิกฺขเว ภิกฺขุ ชิวฺหํ อนิจฺจนฺติ ปสฺสติ
สาสฺส โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ นนฺทิกฺขยา
ราคกฺขโย ฯเปฯ จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจติ ฯเปฯ อนิจฺจํเยว
ภิกฺขเว ภิกฺขุ มนํ อนิจฺจนฺติ ปสฺสติ สาสฺส โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ
สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย
นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจตีติ ฯ ปฐมํ ฯ
[๒๔๖] อนิจฺเจเยว ภิกฺขเว ภิกฺขุ รูเป อนิจฺจาติ ปสฺสติ
สาสฺส โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ นนฺทิกฺขยา
ราคกฺขโย ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ
วุจฺจติ ฯ อนิจฺเจเยว ภิกฺขเว ภิกฺขุ สทฺเท คนฺเธ รเส
โผฏฺฐพฺเพ ธมฺเม อนิจฺจาติ ปสฺสติ สาสฺส โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ
สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย ราคกฺขยา
นนฺทิกฺขโย นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจตีติ ฯ ทุติยํ ฯ
[๒๔๗] จกฺขุํ ภิกฺขเว โยนิโส มนสิกโรถ จกฺขุอนิจฺจตญฺจ ๒
#๑ ยุ. สายํ ฯ ๒ ม. จกฺขานิจฺจตญฺจ ฯ ยุ. จกฺขนิจฺจตญฺจ ฯ เอวมุปริปิ ฯ
๔. จตุตถปัณณาสก์
นันทิขยวรรคที่ ๑
๑. ปฐมนันทิขยสูตร๑
ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลิดเพลิน
[๒๔๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเห็นจักษุอันไม่เที่ยงนั้นแลว่า
ไม่เที่ยง ความเห็นของภิกษุนั้น ชื่อว่าเป็นความเห็นชอบ ภิกษุเมื่อเห็นชอบ
ย่อมเบื่อหน่าย เพราะสิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ
จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ เราจึงเรียกว่า
จิตหลุดพ้นดีแล้ว ฯลฯ ภิกษุเห็นใจอันไม่เที่ยงนั่นแลว่า ไม่เที่ยง ความเห็น
ของภิกษุนั้น ชื่อว่าเป็นความเห็นชอบ เมื่อเห็นชอบย่อมเบื่อหน่าย เพราะ
สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน
เพราะสิ้นความเพลิดเพลินและราคะ เราจึงเรียกว่า จิตหลุดพ้นดีแล้ว.
จบ ปฐมนันทิขยสูตรที่ ๑
๒. ทุติยนันทิขยสูตร
ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งความเพลิดเพลิน
[๒๔๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเห็นรูปอันไม่เที่ยงนั่นแลว่า
ไม่เที่ยง ความเห็นของภิกษุนั้น ชื่อว่าเป็นความเห็นชอบ ภิกษุเมื่อเห็น
ชอบย่อมเบื่อหน่าย เพราะสิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้น
๑. อรรถกถาสูตรที่ ๑ - ๔ แก้รวมกันไว้ท้ายสูตรที่ ๔.