ภาเวถ ตตฺถ จ มา ปมาทตฺถ ยโต โข ภิกฺขเว ภิกฺขุโน กายทุจฺจริตํ
ปหีนํ โหติ กายสุจริตํ ภาวิตํ วจีทุจฺจริตํ ปหีนํ โหติ วจีสุจริตํ
ภาวิตํ มโนทุจฺจริตํ ปหีนํ โหติ มโนสุจริตํ ภาวิตํ มิจฺฉาทิฏฺฐิ ปหีนา
โหติ สมฺมาทิฏฺฐิ ภาวิตา โส น ภายติ สมฺปรายิกสฺส มรณสฺสาติ ฯ
[๑๑๗] จตูสุ ภิกฺขเว ฐาเนสุ อตฺตรูเปน อปฺปมาโท
สติเจตโสอารกฺโข กรณีโย กตเมสุ จตูสุ มา เม รชนีเยสุ ธมฺเมสุ
จิตฺตํ รชฺชีติ อตฺตรูเปน อปฺปมาโท สติเจตโสอารกฺโข กรณีโย มา
เม โทสนีเยสุ ธมฺเมสุ จิตฺตํ ทุสฺสีติ อตฺตรูเปน อปฺปมาโท
สติเจตโสอารกฺโข กรณีโย มา เม โมหนีเยสุ ธมฺเมสุ จิตฺตํ มุยฺหีติ
อตฺตรูเปน อปฺปมาโท สติเจตโสอารกฺโข กรณีโย มา เม มทนีเยสุ
ธมฺเมสุ จิตฺตํ มชฺชีติ อตฺตรูเปน อปฺปมาโท สติเจตโสอารกฺโข กรณีโย
ยโต โข ภิกฺขเว ภิกฺขุโน รชนีเยสุ ธมฺเมสุ จิตฺตํ น รชฺชติ วีตราคตฺตา
โทสนีเยสุ ธมฺเมสุ จิตฺตํ น ทุสฺสติ วีตโทสตฺตา โมหนีเยสุ
ธมฺเมสุ จิตฺตํ น มุยฺหติ วีตโมหตฺตา มทนีเยสุ ธมฺเมสุ
จิตฺตํ น มชฺชติ วีตมทตฺตา โส นจฺฉมฺภติ น กมฺปติ น เวธติ น
สนฺตาสํ อาปชฺชติ น จ ปน สมณวจนเหตุปิ คจฺฉตีติ ฯ
[๑๑๘] จตฺตารีมานิ ภิกฺขเว สทฺธสฺส กุลปุตฺตสฺส ทสฺสนียานิ
สํเวชนียานิ ฐานานิ กตมานิ จตฺตาริ อิธ ตถาคโต ชาโตติ
ภิกฺขเว สทฺธสฺส กุลปุตฺตสฺส ทสฺสนียํ สํเวชนียํ ฐานํ อิธ ตถาคโต
๗. อารักขสูตร
ว่าด้วยความไม่ประมาทในฐานะ ๔ ประการ
[๑๑๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพึงกระทำความไม่ประมาท คือ
มีสติเครื่องรักษาใจโดยสมควรแก่ตน ในฐานะ ๔ ประการ ๔ ประการเป็นไฉน
คือ ภิกษุพึงกระทำความไม่ประมาท คือ มีสติเครื่องรักษาใจโดยสมควรแก่
ตนว่า จิตของเราอยู่กำหนัดในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ๑ จิตของเรา
อย่าขัดเคืองในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง ๑ จิตของเราอย่าหลงในธรรม
เป็นที่ตั้งแห่งความหลง ๑ จิตของเราอย่ามัวเมาในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความ
มัวเมา ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแล จิตของภิกษุไม่กำหนัดในธรรม
เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด เพราะปราศจากความกำหนัด จิตของภิกษุไม่
ขัดเคืองในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง เพราะปราศจากความขัดเคือง
จิตของภิกษุไม่หลงในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความหลง เพราะปราศจากความหลง
จิตของภิกษุไม่มัวเมาในธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความมัวเมา เพราะปราศจากความ
มัวเมา ในกาลนั้น เธอย่อมไม่หวาดเสียว ไม่หวั่น ไม่ไหว ไม่ถึงความสะดุ้ง
และย่อมไม่ไปแม้เพราะเหตุแห่งถ้อยคำของสมณะ.
จบอารักขสูตรที่ ๗