อิมสฺมิญฺจ สวิญฺญาณเก กาเย พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตสุ
อหํการมมํการมานาปคตํ มานสํ น โหติ วิธาสมติกฺกนฺตํ สนฺตํ สุวิมุตฺตํ
เวทิตพฺพเมตํ ภิกฺขเว ภิกฺขุนา อภาวิตา เม ทุกฺเข อนตฺตสญฺญา
นตฺถิ เม ปุพฺเพนาปรํ วิเสโส อปฺปตฺตํ เม ภาวนาผลนฺติ อิติห
ตตฺถ สมฺปชาโน โหติ สเจ ปน ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ทุกฺเข
อนตฺตสญฺญาปริจิเตน เจตสา พหุลํ วิหรโต อิมสฺมิญฺจ สวิญฺญาณเก
กาเย พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตสุ อหํการมมํการมานาปคตํ มานสํ โหติ
วิธาสมติกฺกนฺตํ สนฺตํ สุวิมุตฺตํ เวทิตพฺพเมตํ ภิกฺขเว ภิกฺขุนา
ภาวิตา เม ทุกฺเข อนตฺตสญฺญา อตฺถิ เม ปุพฺเพนาปรํ วิเสโส
ปตฺตํ เม ภาวนาผลนฺติ อิติห ตตฺถ สมฺปชาโน โหติ ทุกฺเข
อนตฺตสญฺญา ภิกฺขเว ภาวิตา พหุลีกตา มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา
อมโตคธา อมตปริโยสานาติ อิติ ยนฺตํ วุตฺตํ อิทเมตํ ปฏิจฺจ
วุตฺตํ ฯ อิมา โข ภิกฺขเว สตฺต สญฺญา ภาวิตา พหุลีกตา มหปฺผลา
โหนฺติ มหานิสํสา อมโตคธา อมตปริโยสานาติ ฯ
[๔๗] อถโข ชานุสฺโสณี ๑ พฺราหฺมโณ เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ
อุปสงฺกมิตฺวา ภควตา สทฺธึ สมฺโมทิ สมฺโมทนียํ กถํ สาราณียํ
วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข ชานุสฺโสณี
พฺราหฺมโณ ภควนฺตํ เอตทโวจ ภวมฺปิ โน โคตโม พฺรหฺมจารี
ปฏิชานาตีติ ฯ ยญฺหิ ตํ พฺราหฺมณ สมฺมา วทมาโน วเทยฺย อขณฺฑํ
อจฺฉิทฺทํ อสพลํ อกมฺมาสํ ปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ จรตีติ
#๑ ม. ชาณุสฺโสณิ ฯ เอวมุปริปิ ฯ
๗. เมถุนสูตร
[๔๗] ครั้งนั้นแล ชานุสโสณีพราหมณ์ได้เข้าไปเฝ้าพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า แม้ท่าน
พระโคดมก็ทรงปฏิญาณว่าเป็นพรหมจารีหรือ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ บุคคลเมื่อจะกล่าวโดยชอบ พึงกล่าวผู้ใด
ว่าประพฤติพรหมจรรย์ ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย บริสุทธิ์
บริบูรณ์ บุคคลนั้น เมื่อจะกล่าวโดยชอบ พึงกล่าวเรานั่นแล เพราะ
เราประพฤติพรหมจรรย์ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย บริสุทธิ์
บริบูรณ์เต็มที่.
ชา. ข้าแต่ท่านพระโคดม ก็อะไรชื่อว่าขา ทะลุ ด่าง พร้อย
แห่งพรหมจรรย์.
พ. ก่อนพราหมณ์ ถูกแล้ว สมณะหรือพราหมณ์บางคน
ในโลกนี้ ปฏิญาณว่าเป็นพรหมจารีโดยชอบ ไม่ร่วมความเป็นคู่ ๆ
กับมาตุคาม แต่ยังยินดีการขัดสี ลูบไล้ ให้อาบน้ำ และนวดเฟ้น
ของมาตุคาม พอใจ ชอบใจ ถึงความปลื้มใจ ด้วยการบำเรอนั้น
แม้ข้อนี้ก็ชื่อว่าขาด ทะลุ ด่าง พร้อย แห่งพรหมจรรย์ ก่อนพราหมณ์
ผู้นี้เรากล่าวว่า ประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ประกอบด้วย
เมถุนสังโยค ไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์
โทมนัส และอุปายาส เรากล่าวว่า ไม่หลุดพ้นไปจากกองทุกข์ได้.