ต้องการเทียบเคียงกับ..

พระไตรปิฎก ไทย ฉบับหลวง พระไตรปิฎก บาลี ฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหามกุฏฯ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหาจุฬาฯ
E-Tipitaka
  • บาลี (สยามรัฐ)
  • ไทย (มหามกุฏฯ)
  • ไทย (มหาจุฬาฯ)
  • เลือกเล่ม
    • ๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
    • ๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
    • ๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
    • ๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
    • ๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
    • ๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
    • ๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
    • ๘. วินัยปิฎก ปริวาร
    • ๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    • ๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
    • ๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
    • ๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    • ๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
    • ๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    • ๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
    • ๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    • ๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    • ๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    • ๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    • ๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
    • ๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
    • ๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
    • ๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
    • ๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    • ๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
    • ๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
    • ๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
    • ๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
    • ๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
    • ๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
    • ๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    • ๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
    • ๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
    • ๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
    • ๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
    • ๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
    • ๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
    • ๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
    • ๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
    • ๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
    • ๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
    • ๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
    • ๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
๘. วินัยปิฎก ปริวาร
๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๐
สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
หน้าที่ ๔๘ ข้อที่ ๕๖
หน้าที่ 48

ลิงก์สำหรับจดจำหรือแบ่งปันหน้านี้

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในหมู่เทพดานั้นเอง เทพดานับร้อยนับพันเป็นอันมาก ได้เข้า มาหาเรา ครั้นเข้ามาหาไหว้เราแล้ว ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นเทพดาเหล่านั้น ยืนเรียบร้อยแล้วได้กล่าวกะเราว่า ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ ใน ภัททกัปนี้เอง พระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เสด็จอุบัติในโลก พระองค์เป็นกษัตริย์โดยพระชาติ เสด็จอุบัติใน ขัตติยสกุล เป็นโคตมะโดย พระโคตร ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระชนมายุของพระผู้มีพระภาค น้อยนิดเดียว เร็วพลัน ผู้ที่มีชีวิตอยู่นานก็เป็นอยู่ได้เพียงร้อยปี บางทีก็น้อยกว่าบ้าง มากกว่า บ้าง พระผู้มีพระภาคตรัสรู้ที่ควงไม้โพธิ ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระสารีบุตรเถระ และพระ โมคคัลลานเถระเป็นคู่พระอัครสาวก ซึ่งเป็นคู่อันเจริญของพระผู้มีพระภาค การประชุมกันแห่ง พระสาวกของพระผู้มีพระภาคได้มีแล้วครั้งเดียว เป็นจำนวน ภิกษุหนึ่งพันสองร้อยห้าสิบรูป ข้าแต่ พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระสาวกของพระผู้มีพระภาคที่ได้ประชุมกันแล้วครั้งเดียวนี้ ล้วนแต่เป็น พระขีณาสพทั้งสิ้น ข้าแต่ พระองค์ผู้นิรทุกข์ ภิกษุผู้อุปัฏฐากชื่อว่า อานันทะ ได้เป็นอัครอุปัฏฐาก ของ พระผู้มีพระภาค ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระราชาพระนามว่า สุทโธทนะ เป็นพระชนก พระ เทวีพระนามว่า มายา เป็นพระชนนีบังเกิดเกล้าของพระผู้มีพระภาคพระนครชื่อกบิลพัสดุ์เป็น ราชธานี ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ การเสด็จออก มหาภิเนษกรมณ์ การบรรพชา การตั้งความเพียร การตรัสรู้ การประกาศ พระธรรมจักร์ของพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างนี้ๆ ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พวก ข้าพระองค์ ประพฤติพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาค คลายความพอใจในกาม ทั้งหลายแล้ว จึงได้บังเกิดในที่นี้ ฯ [๕๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุที่ธรรมธาตุนี้ ตถาคตแทงตลอดแล้วอย่างดี ด้วยประการฉะนี้แล ฉะนั้น พระพุทธเจ้าที่ล่วงไปแล้ว ปรินิพพานแล้ว ตัดธรรมเป็นเหตุทำให้เนิ่นช้า ได้แล้ว ตัดวัฏฏะได้แล้ว ครอบงำวัฏฏะได้ แล้ว ล่วงสรรพทุกข์แล้ว ตถาคตย่อมระลึกถึงได้ แม้โดยพระชาติ แม้โดยพระนาม แม้โดยพระโคตร แม้โดยประมาณแห่งพระชนมายุ แม้โดยคู่ แห่งพระสาวก แม้ โดยการประชุมกันแห่งพระสาวกว่า แม้ด้วยเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเหล่านั้น จึง มีพระชาติอย่างนี้ จึงมีพระนามอย่างนี้ จึงมีพระโคตรอย่างนี้ จึงมีศีลอย่างนี้ จึง มีธรรม อย่างนี้ จึงมีปัญญาอย่างนี้ จึงมีวิหารธรรมอย่างนี้ จึงมีวิมุติอย่างนี้ ฯ แม้พวกเทพดาก็ได้บอกเนื้อความนี้แก่ตถาคต ซึ่งเป็นเหตุให้ตถาคตระลึกถึงได้ซึ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ล่วงไปแล้ว ปรินิพพานแล้ว ตัดธรรมเป็นเหตุทำให้เนิ่นช้าได้แล้ว ตัดวัฏฏะ