ต้องการเทียบเคียงกับ..

พระไตรปิฎก ไทย ฉบับหลวง พระไตรปิฎก บาลี ฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหามกุฏฯ พระไตรปิฎก ไทย ฉบับมหาจุฬาฯ
E-Tipitaka
  • บาลี (สยามรัฐ)
  • ไทย (มหามกุฏฯ)
  • ไทย (มหาจุฬาฯ)
  • เลือกเล่ม
    • ๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
    • ๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
    • ๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
    • ๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
    • ๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
    • ๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
    • ๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
    • ๘. วินัยปิฎก ปริวาร
    • ๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
    • ๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
    • ๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
    • ๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
    • ๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
    • ๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
    • ๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
    • ๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    • ๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    • ๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    • ๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    • ๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
    • ๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
    • ๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
    • ๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
    • ๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
    • ๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
    • ๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
    • ๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
    • ๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
    • ๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
    • ๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
    • ๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    • ๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
    • ๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
    • ๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
    • ๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
    • ๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
    • ๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
    • ๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
    • ๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
    • ๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
    • ๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
    • ๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
    • ๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
    • ๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
๑. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๑
๒. วินัยปิฎก มหาวิภังค์ ภาค ๒
๓. วินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์
๔. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๑
๕. วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒
๖. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๑
๗. วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒
๘. วินัยปิฎก ปริวาร
๙. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
๑๐. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
๑๑. สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
๑๒. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
๑๓. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๑๔. สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
๑๕. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
๑๖. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๗. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
๑๘. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๑๙. สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
๒๐. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
๒๑. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๒๒. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๒๓. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
๒๔. สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
๒๕. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๒๖. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒๗. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒๘. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒๙. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส
๓๐. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๓๑. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
๓๒. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
๓๓. สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๓๔. อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณีปกรณ์
๓๕. อภิธรรมปิฎก วิภังคปกรณ์
๓๖. อภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-ปุคคลบัญญัติปกรณ์
๓๗. อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุปกรณ์
๓๘. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๑
๓๙. อภิธรรมปิฎก ยมกปกรณ์ ภาค ๒
๔๐. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
๔๑. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
๔๒. อภิธรรมปิฎก มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
๔๓. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๔๔. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
๔๕. อภิธรรมปิฎก ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๑
สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
หน้าที่ ๙๖ ข้อที่ ๑๐๒ - ๑๐๓
หน้าที่ 96

ลิงก์สำหรับจดจำหรือแบ่งปันหน้านี้

ให้มีปาฏิหาริย์ พอที่เทพดามนุษย์ทั้งหลายประกาศได้ด้วยดี แก่สาวกเหล่านั้น ครั้นต่อมา ความอันตรธานย่อมมีแก่ศาสดาของสาวกเหล่านั้น ดูกรจุนทะ ศาสดา เห็นปานนี้แล ทำกาละ แล้ว ย่อมไม่เป็นเหตุเดือดร้อนในภายหลังแก่สาวกทั้งหลาย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่า แม้ศาสดาผู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธะก็เกิดขึ้น แล้วในโลก และธรรมเล่าก็เป็นธรรมอันพระ ศาสดานั้นกล่าวไว้ดีแล้ว ประกาศไว้ ดีแล้ว เป็นธรรมที่จะนำผู้ปฏิบัติให้ออกไปจากทุกข์ได้ เป็น ไปเพื่อความสงบระงับ เป็นธรรมอันท่านผู้เป็นสัมมาสัมพุทธะประกาศไว้ และเราทั้งหลายก็ได้ เป็นผู้รู้แจ้ง อรรถในสัทธรรม ทั้งพรหมจรรย์อันบริบูรณ์สิ้นเชิง ก็เป็นปาพจน์อันเราทั้งหลายทำ ให้แจ้งแล้ว ทำให้ตื้นแล้ว ทำให้มีบทอันรวบรวมไว้พร้อมแล้ว ทำให้มี ปาฏิหาริย์ พอที่เทพดา มนุษย์ทั้งหลายประกาศได้ด้วยดี ครั้นต่อมา ความอันตรธาน ย่อมมีแก่ศาสดา ดูกรจุนทะ ศาสดาเห็นปานนี้แล ทำกาละแล้ว ย่อมไม่เป็น เหตุเดือดร้อนในภายหลังแก่สาวกทั้งหลาย ฯ [๑๐๒] ดูกรจุนทะ แม้ถ้าพรหมจรรย์ ประกอบด้วยองค์เหล่านี้ คือ ศาสดาไม่ได้ เป็นเถระ ไม่เป็นผู้รู้ราตรีนาน ไม่เป็นผู้บวชนาน ไม่เป็นผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับแล้ว อย่างนี้ พรหมจรรย์นั้นย่อมไม่บริบูรณ์ด้วยองค์นั้น ดูกร จุนทะ เมื่อใดแล แม้ถ้าพรหมจรรย์ ประกอบด้วยองค์เหล่านี้ คือศาสดาเป็นเถระ เป็นผู้รู้ราตรีนาน เป็นผู้บวชนาน เป็นผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ อย่างนี้ พรหมจรรย์นั้น บริบูรณ์ด้วยองค์นั้น เมื่อนั้น ฯ [๑๐๓] ดูกรจุนทะ แม้ถ้าพรหมจรรย์ ประกอบด้วยองค์เหล่านี้ คือศาสดา เป็นเถระ เป็นผู้รู้ราตรีนาน เป็นผู้บวชนาน เป็นผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ แต่ว่าภิกษุทั้งหลายผู้เป็น สาวกของศาสดานั้นไม่เป็นเถระ ไม่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ไม่ เป็นผู้ได้รับแนะนำ ไม่เป็นผู้แกล้วกล้า และไม่บรรลุธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะ ไม่สามารถเพื่อจะกล่าวพระสัทธรรมได้โดยชอบ ไม่ สามารถเพื่อแสดงธรรมให้มี ปาฏิหาริย์ข่มขี่ปรัปปวาทที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยดี โดยชอบธรรม พรหมจรรย์นั้น ย่อมไม่บริบูรณ์ด้วยองค์นั้น อย่างนี้ ดูกรจุนทะ ในกาลใดแล แม้ถ้าพรหมจรรย์ ประกอบด้วยองค์เหล่านี้ คือศาสดาเป็นเถระ เป็นผู้รู้ราตรีนาน เป็นผู้บวชนาน เป็นผู้ล่วง กาล ผ่านวัยมาโดยลำดับแล้ว และภิกษุทั้งหลายผู้เป็นสาวกของศาสดา นั้น ก็เป็นเถระ เป็นผู้ เชี่ยวชาญ เป็นผู้ได้รับแนะนำแล้ว เป็นผู้แกล้วกล้า และ เป็นผู้บรรลุธรรมเป็นแดนเกษมจาก โยคะแล้ว สามารถเพื่อจะกล่าวพระสัทธรรมได้ โดยชอบ สามารถเพื่อแสดงธรรมให้มีปาฏิหาริย์